บูจินกัน

บูจินกัน โอนิ โดโจ (หลักสี่): ตารางและค่าธรรมเนียมการฝึกในเดือนมิถุนายน 2559

ในเดือนมิถุนายน 2559 บูจินกัน โอนิ โดโจ จะเปิดสอนตามตารางดังต่อไปนี้ โรงฝึกจะเก็บค่าธรรมเนียมสำหรับการฝึกติดต่อกัน 4 คร้ังดังนี้ สำหรับนักเรียน 500 บาท สำหรับบุคคลทั่วไป 700 บาท ผู้สนใจเข้าร่วมการฝึกสามารถดูรายละเอียดได้ที่ http://bujinkan-onidojo.com/?page_id=23 * ค่าฝึกเฉพาะบูจินกัน โอนิ โดโจ สำหรับค่าฝึกที่อื่น ขอให้ติดต่อกับโรงฝึกโดยตรง * ผู้เข้าฝึกควรเข้าฝึกสม่ำเสมอทุกสัปดาห์ โรงฝึกไม่มีนโยบายการชดเชยการฝึกสำหรับผู้เข้าฝึกที่ขาดการฝึก

บูจินกัน โอนิ โดโจ (หลักสี่): ตารางและค่าธรรมเนียมการฝึกในเดือนมีนาคม 2559

ในเดือนมีนาคม 2559 บูจินกัน โอนิ โดโจ จะเปิดสอนตามตารางดังต่อไปนี้   โดยจะงดการฝึกสอนวันที่ 3 มีนาคม 2559 เนื่องจากมีการเดินทางไปฝึกพิเศษที่ประเทศญี่ปุ่น โรงฝึกจะเก็บค่าธรรมเนียมเป็นรายเดือน (สำหรับการฝึกติดต่อกัน 4 คร้ัง) ดังนี้ สำหรับนักเรียน 500 บาท สำหรับบุคคลทั่วไป 700 บาท ผู้สนใจเข้าร่วมการฝึกสามารถดูรายละเอียดได้ที่ http://bujinkan-onidojo.com/?page_id=23 * ค่าฝึกเฉพาะบูจินกัน โอนิ​ โดโจ สำหรับค่าฝึกที่อื่น ขอให้ติดต่อกับโรงฝึกโดยตรง …

ตาดู หูฟัง กายสัมผัส รับรู้ด้วยใจกับการถ่ายทอดวิชา 3 อย่างในบูจินกัน

การเรียนรู้ 3 ทาง คนเราสามารถเรียนรู้ได้ 3 ทาง หนึ่งคือทางการมอง (Visual) สองคือการฟัง (Auditory) และสามคือการได้ทดลองทำ (Kinesthetic) เราเรียนรู้คณิตศาสตร์ ศิลปะ และภาษาอื่น ด้วยการดูว่าเขาทำอย่างไร ฟังในสิ่งที่เขาอธิบาย และทดสอบทำด้วยตัวเอง หากเรามีความตั้งใจ เราสามารถเรียนในห้องเรียน ผ่านวีดีโอ หรือระบบ e-learning ก็ได้ ผลที่ได้จะไม่แตกต่างกันนัก   การถ่ายทอดวิชาของบูจินกัน ดูเหมือนว่าถ่ายทอดวิชาในบูจินกันก็มีลักษณะคล้ายๆกัน อาจารย์จะใช้การบอกให้ฟัง ทำให้ดู …

งานแสดงบูจินกัน เนื่องในวันเด็ก (อาทิตย์) ที่ 10 มกราคม 2559

วันที่ 10 มกราคม 2559 โรงฝึกบูจินกัน โอนิ โดโจ (หลักสี่​) ได้เข้าร่วมงานแสดงที่ศูนย์เยาวชน ทวีวัฒนา เนื่องในโอกาส วันเด็กแห่งชาติ งานนี้มีการแสดงทั้งเทคนิคการต่อสู้ด้วยมือเปล่า และการต่อสู้ด้วยอาวุธหลายๆ อย่างที่ไม่ค่อยได้เห็นกันมาใช้ ได้แก่ คะตะนะ (ดาบ) ชุริเค็น (ดาวกระจาย) ทันโตะ (มีด) เชือก จุตเตะ (อาวุธของตำรวจโบราณ) มะกิบิชิ (หนามเหล็ก) นะกินะตะ (ง้าว) ชุโกะ (มือเหล็ก) …

บูจินกัน โอนิ โดโจ (หลักสี่): ตารางและค่าธรรมเนียมการฝึกในเดือนมกราคม 2559

ในเดือนมกราคม 2559 บูจินกัน โอนิ โดโจ จะเปิดสอนตามตารางดังต่อไปนี้ โดยจะมีค่าธรรมเนียมสำหรับเดือน จะเก็บค่าธรรมเนียมรายเดือน (สำหรับการฝึกติดต่อกัน 4 คร้ัง) ดังนี้ สำหรับนักเรียน 500 บาท สำหรับบุคคลทั่วไป 700 บาท ผู้สนใจเข้าร่วมการฝึกสามารถดูรายละเอียดได้ที่ http://bujinkan-onidojo.com/?page_id=23 * ค่าฝึกเฉพาะบูจินกัน โอนิ​ โดโจ สำหรับค่าฝึกที่อื่น ขอให้ติดต่อกับโรงฝึกโดยตรง * ผู้เข้าฝึกควรเข้าฝึกสม่ำเสมอทุกสัปดาห์ โรงฝึกไม่มีนโยบายการชดเชยการฝึกสำหรับผู้เข้าฝึกที่ขาดการฝึก

บูจินกัน โอนิ โดโจ (หลักสี่): ตารางและค่าธรรมเนียมการฝึกในเดือนธันวาคม 2558

ในเดือนธันวาคม 2558 บูจินกัน โอนิ โดโจ จะเปิดสอนตามตารางดังต่อไปนี้ โดยจะมีค่าธรรมเนียมสำหรับเดือนธันวาคม 2558 จะเก็บค่าธรรมเนียมรายเดือน (สำหรับการฝึกติดต่อกัน 4 คร้ัง) ดังนี้ สำหรับนักเรียน 500 บาท สำหรับบุคคลทั่วไป 700 บาท * ค่าฝึกเฉพาะบูจินกัน โอนิ​ โดโจ สำหรับค่าฝึกที่อื่น ขอให้ติดต่อกับโรงฝึกโดยตรง * ผู้เข้าฝึกควรเข้าฝึกสม่ำเสมอทุกสัปดาห์ โรงฝึกไม่มีนโยบายการชดเชยการฝึกสำหรับผู้เข้าฝึกที่ขาดการฝึก

บูจินกัน โอนิ โดโจ (หลักสี่): ตารางและค่าธรรมเนียมการฝึกในเดือนพฤศจิกายน 2558

ในเดือนพฤศจิกายน 2558 บูจินกัน โอนิ โดโจ จะเปิดสอนตามตารางดังต่อไปนี้ โดยจะมีค่าธรรมเนียมสำหรับเดือนพฤศจิกายน 2558 จะเก็บค่าธรรมเนียมรายเดือน (สำหรับการฝึกติดต่อกัน 4 คร้ัง) ดังนี้ สำหรับนักเรียน 500 บาท สำหรับบุคคลทั่วไป 700 บาท * ค่าฝึกเฉพาะบูจินกัน โอนิ​ โดโจ สำหรับค่าฝึกที่อื่น ขอให้ติดต่อกับโรงฝึกโดยตรง * ผู้เข้าฝึกควรเข้าฝึกสม่ำเสมอทุกสัปดาห์ โรงฝึกไม่มีนโยบายการชดเชยการฝึกสำหรับผู้เข้าฝึกที่ขาดการฝึก

ชัยชนะกับการพ่ายแพ้ในศิลปะต่อสู้

เป้าหมายของศิลปะต่อสู้คืออะไร? เป้าหมายเป็นสิ่งสำคัญสิ่งหนึ่งสำหรับผู้ฝึกศิลปะต่อสู้ เป้าหมายเป็นเหมือนธงคอยนำทางให้เราที่จะคอยบอกว่าเราฝึกไปเพื่ออะไร บางครั้งเป้าหมายก็คือสายที่คาดอยู่ที่เอว และบางครั้งเป้าหมายก็คือชัยชนะในการแข่งขัน การวัดผลด้วยสายหรือการแข่งขันได้ทำให้แนวคิดของผู้ฝึกเปลี่ยนไปจากแนวคิดดั้งเดิม ในโบราณศิลปะต่อสู้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในสนามรบ ถึงแม้เป้าหมายดั้งเดิมของศิลปะต่อสู้คือการเอาชนะเช่นเดียวกัน แต่แรงจูงใจในการเอาชนะนั้นต่างกันอย่างสิ้นเชิง เพราะผู้ชนะในสนามรบคือผู้รอดชีวิต ส่วนผู้พ่ายแพ้คือผู้ที่ไม่มีชีวิตรอด เข้าใจความพ่ายแพ้ อย่างไรก็ตามความเข้าใจเรื่องความพ่ายแพ้ก็เป็นสิ่งสำคัญต่อการฝึกศิลปะต่อสู้ เพราะความเข้าใจเรื่องความพ่ายแพ้จะนำไปสู่ความกล้าที่จะเผชิญต่อความพ่ายแพ้ และความกล้าจะนำมาซึ่งความสงบอันเป็นส่ิงจะเป็นในสนามรบ ผู้ที่ไม่เคยเข้าใจถึงความพ่ายแพ้ระหว่างการฝึกจะขาดความพร้อมเมื่อต้องเผชิญกับความพ่ายแพ้ในสนามรบ เมื่อต้องเผชิญกับความพ่ายแพ้จริงก็จะรู้สึกตื่นเต้น ประหม่า ลนลาน จนทำอะไรไม่ถูก และท้ายที่สุดก็จะไม่สามารถเอาชีวิตรอดมาจากสนามรบได้ ชัยชนะกับความพ่ายแพ้เป็นกฏของธรรมชาติ ไม่มีใครที่จะชนะตลอดไป และไม่มีใครที่จะพ่ายแพ้ตลอดไป เพื่อนของท่านอาจารย์มะซะอะกิผู้ซึ่งเคยผ่านศึกสงครามมาแล้วได้เล่าว่า สำหรับเขาแล้วไม่มีใครเป็นผู้ชนะในสงคราม ทุกคนคือผู้พ่ายแพ้ ถึงแม้ฝ่ายหนึ่งจะมีชัยในการรบ แต่สงครามอาจไม่จบลง ผู้พ่ายแพ้อาจผันตัวเองเป็นผู้ก่อการร้ายคอยก่อความไม่สงบต่อไป …

บูจินกัน โอนิ โดโจ (หลักสี่): ตารางและค่าธรรมเนียมการฝึกในเดือนกันยายน 2558

ในเดือนกันยายน 2558 บูจินกัน โอนิ โดโจ จะเปิดสอนตามตารางดังต่อไปนี้ โดยจะมีค่าธรรมเนียมสำหรับเดือนกันยายน 2558 จะเก็บค่าธรรมเนียมรายเดือน (สำหรับการฝึกติดต่อกัน 4 คร้ัง) ดังนี้ สำหรับนักเรียน 500 บาท สำหรับบุคคลทั่วไป 700 บาท * ค่าฝึกเฉพาะบูจินกัน โอนิ​ โดโจ สำหรับค่าฝึกที่อื่น ขอให้ติดต่อกับโรงฝึกโดยตรง * ผู้เข้าฝึกควรเข้าฝึกสม่ำเสมอทุกสัปดาห์ โรงฝึกไม่มีนโยบายการชดเชยการฝึกสำหรับผู้เข้าฝึกที่ขาดการฝึก

เซนไปย์ (รุ่นพี่) เซนเซย์ (อาจารย์) ชิโดชิ (ผู้ชี้ทาง) 
และชิฮัน (บุคคลตัวอย่าง)

Senpai กับ Sensei คำศัพท์เหล่านี้เป็นคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่ผู้ฝึกศิลปะต่อสู้ญี่ปุ่นได้ยินอยู่เป็นประจำ พอเริ่มฝึกมาสักพักหนึ่งก็จะเริ่มรู้ว่า เซนไปย์ (Senpai 先輩) มีความหมายว่ารุ่นพี่ ในขณะที่เซนเซย์ (Sensei 先生) มีความหมายว่าอาจารย์ ถ้าดูตามตัวอักษรคันจิแล้วคำว่า sen (先)นั้นมีความหมายว่าก่อนหน้า ส่วนคำว่า pai (輩) นั้นมีความหมายว่า พวกพ้อง ดังนั้น senpai จึงมีความหมายว่า “พวกพ้องรุ่นก่อน” หรือ “รุ่นพี่” นั่นเอง ส่วน คำว่า …